โครงสร้างเนื้อหา “วิชาบาลีไวยากรณ์”

 

 

บาลีไวยากรณ์ มีเนื้อหาครอบคลุมสำหรับการสอบบาลีสนามหลวงประโยค ๑-๒
และประโยค ป.ธ.๓ มีวิดีโอบทเรียนรวม ๓๐๕ ตอน ดังนี้

 

 

รายละเอียดตอนต่าง ๆ

 

สมัญญาภิธาน, สระ, พยัญชนะ

ตอนที่

ชื่อตอน

สมัญญาภิธาน: สระ พยัญชนะ

สมัญญาภิธาน: ฐานกรณ์

ลิงค์ วจนะ วิภัตติ

 

 

การันต์

ตอนที่

ชื่อตอน

อ การันต์ในปุงลิงค์ (ปุริส บุรุษ) ตอนที่ ๑

อ การันต์ในปุงลิงค์ (ปุริส บุรุษ) ตอน ๒

อิ การันต์ในปุงลิงค์ (มุนิ ผู้รู้)

อี การันต์ในปุงลิงค์ (เสฏฐี เศรษฐี)

อุ การันต์ในปุงลิงค์ (ครุ ครู)

อู การันต์ในปุงลิงค์ (วิญญู ผู้รู้วิเศษ))

๑๐

อา การันต์ในอิตถีลิงค์ (กัญญา นางสาวน้อย)

๑๑

อิ การันต์ในอิตถีลิงค์ (รัตติ ราตรี)

๑๒

อี การันต์ในอิตถีลิงค์ (นารี นาง)

๑๓

อุ การันต์ในอิตถีลิงค์ (รัชชุ เชือก) ตอนที่ ๑

๑๔

อุ การันต์ในอิตถีลิงค์ (รัชชุ เชือก) ตอนที่ ๒

๑๕

อู การันต์ในอิตถีลิงค์ (วธู หญิงสาว) ตอนที่ ๑

๑๖

อู การันต์ในอิตถีลิงค์ (วธู หญิงสาว) ตอนที่ ๒

๑๗

อ การันต์ในนปุงสกลิงค์ (กุล ตระกูล) ตอนที่ ๑

๑๘

อ การันต์ในนปุงสกลิงค์ (กุล ตระกูล) ตอนที่ ๒

๑๙

อิ การันต์ในนปุงสกลิงค์ (อักขิ นัยน์ตา) ตอนที่ ๑

๒๐

อิ การันต์ในนปุงสกลิงค์ (อักขิ นัยน์ตา) ตอนที่ ๒

๒๑

อ การันต์ในนปุงสกลิงค์ (วัตถุ พัสดุ, วัตถุ) ตอนที่ ๑

๒๒

อ การันต์ในนปุงสกลิงค์ (วัตถุ พัสดุ, วัตถุ) ตอนที่ ๒

 

 

กติปยศัพท์

ตอนที่

ชื่อตอน

๒๓

กติปยศัพท์ อัตต (ตน)

๒๔

กติปยศัพท์ พรหม (พรหม)

๒๕

กติปยศัพท์ ราช (พระราชา) ตอน ๑

๒๖

กติปยศัพท์ มหาราชา (พระราชาใหญ่) ตอน ๒

๒๗

กติปยศัพท์ ภควันตุ (พระผู้มีพระภาคเจ้า)

๒๘

กติปยศัพท์ อรหันต์ (พระอรหันต์)

๒๙

กติปยศัพท์ ภวันตะ (ผู้เจริญ)

๓๐

กติปยศัพท์ สัตถุ (พระศาสดา)

๓๑

กติปยศัพท์ ปิตุ (บิดา)

๓๒

กติปยศัพท์ มาตุ (มารดา)

 

 

มโนคณะ

ตอนที่

ชื่อตอน

๓๓

กติปยศัพท์ มโนคณะ

๓๔

กติปยศัพท์ กัมมะ (กรรม)

๓๕

กติปยศัพท์ โค (โค)

๓๖

กติปยศัพท์ ศัพท์พิเศษ ๖ ศัพท์

 

 

สังขยาคุณนาม

ตอนที่

ชื่อตอน

๓๗

สังขยา

๓๘

สังขยา เอก (๑)

๓๙

สังขยา ทวิ (๒) อุภ (ทั้งสอง)

๔๐

สังขยา ติ (๓)

๔๑

สังขยา จตุ (๔)

๔๒

สังขยา ปัญจ (๕) อัฏฐารส (๑๘)

๔๓

สังขยา เอกูนวีส (๑๙) อัฏฐนวุติ (๙๘)

๔๔

สังขยานามนาม

๔๕

ปูรณสังขยา

๔๖

สรุปสังขยา

 

 

สัพพนาม

ตอนที่

ชื่อตอน

๔๗

สัพพนาม และ ต ศัพท์ (ปุง) ในปุริสสัพพนาม

๔๘

สัพพนาม ต ศัพท์ (อิต) ในปุริสสัพพนาม

๔๙

สัพพนาม ต ศัพท์ (นปุง) ในปุริสสัพพนาม

๕๐

สัพพนาม ตุมห ศัพท์ (ท่าน) ในปุริสสัพพนาม

๕๑

สัพพนาม อมห ศัพท์ (เรา) ในปุริสสัพพนาม

๕๒

อนิยม วิเสสนสัพพนาม ย ศัพท์ (ใด) ในปุงลิงค์

๕๓

อนิยม วิเสสนสัพพนาม ย ศัพท์ (ใด) ในอิตถีลิงค์

๕๔

อนิยม วิเสสนสัพพนาม ย ศัพท์ (ใด) ในนปุงสกลิงค์

๕๕

อนิยม วิเสสนสัพพนาม กึ ศัพท์ (อะไร ใคร) ใน ๓ ลิงค์

๕๖

อนิยม วิเสสนสัพพนาม กึง ศัพท์ (อะไร ใคร) มี จิ ต่อท้าย

๕๗

อนิยม วิเสสนสัพพนาม กึง ศัพท์ (อะไร ใคร) มี ย นำหน้า มี จิ ต่อท้าย

๕๘

นิยม วิเสสนสัพพนาม ต ศัพท์ (นั้น)​ใน ๓ ลิงค์

๕๙

นิยม วิเสสนสัพพนาม เอต ศัพท์ (นั่น) ในปุงลิงค์

๖๐

นิยม วิเสสนสัพพนาม เอต ศัพท์ (นั่น) ในอิตถีลิงค์

๖๑

นิยม วิเสสนสัพพนาม เอต ศัพท์ (นั่น) ในนปุงสกลิงค์

๖๒

นิยม วิเสสนสัพพนาม อิม ศัพท์ (นี้)  ในปุงลิงค์

๖๓

นิยม วิเสสนสัพพนาม อิม ศัพท์ (นี้)  ในอิตถีลิงค์

๖๔

นิยม วิเสสนสัพพนาม อิม ศัพท์ (นี้)  ในนปุงสกลิงค์

๖๕

นิยม วิเสสนสัพพนาม อมุ ศัพท์ (โน้น)  ในปุงลิงค์

๖๖

นิยม วิเสสนสัพพนาม อมุ ศัพท์ (โน้น)  ในอิตถีลิงค์

๖๗

นิยม วิเสสนสัพพนาม อมุ ศัพท์ (โน้น)  ในนปุงสกลิงค์

 

 

อัพยยศัพท์

ตอนที่

ชื่อตอน

๖๘

อัพยยศัพท์ (อุปสัค นิบาต ปัจจัย) อุปสัค ๒๐ ตัว

๖๙

อัพยยศัพท์ นิบาต

๗๐

อัพยยศัพท์ ปัจจัย ๑๗

 

 

 

อาขยาต ๔๕ ตอน  (ตอนที่ ๗๑ – ๑๑๕)

ตอนที่

ชื่อตอน

๗๑

อาขยาตเบื้องต้น ๑ ความหมาย ความสำคัญ และองค์ประกอบ

๗๒

วิภัตติ ๘ หมวด และองค์ประกอบ ๔ อย่าง

๗๓

วัตตมานาวิภัตติ และหมวด ภู ธาตุ

๗๔

วัตตมานาวิภัตติ และหมวด รุธ ธาตุ

๗๕

วัตตมานาวิภัตติ และหมวด ทิว ธาตุ

๗๖

วัตตมานาวิภัตติ และหมวด สุ ธาตุ และคห ธาตุ

๗๗

วัตตมานาวิภัตติ และหมวด กี ธาตุ

๗๘

วัตตมานาวิภัตติ และหมวด ตน ธาตุ

๗๙

วัตตมานาวิภัตติ และหมวด จุร ธาตุ

๘๐

ปัญจมีวิภัตติ และหมวดธาตุ ภู ธาตุ และหมวดธาตุ รุธ ธาตุ

๘๑

ปัญจมีวิภัตติ และหมวดธาตุ ทวิ ธาตุ และหมวดธาตุ สุ ธาตุ

๘๒

ปัญจมีวิภัตติ และหมวดธาตุ กี ธาตุ และหมวดธาตุ คห ธาตุ

๘๓

ปัญจมีวิภัตติ และหมวดธาตุ ตน ธาตุ และหมวดธาตุ จุร ธาตุ

๘๔

สัตตมีวิภัตติ และธาตุหมวด ภู ธาตุ และธาตุหมวด รุธ ธาตุ

๘๕

สัตตมีวิภัตติ และธาตุหมวด ทวิ ธาตุ และธาตุหมวด สุ ธาตุ

๘๖

สัตตมีวิภัตติ และธาตุหมวด กี ธาตุ และธาตุหมวด คห ธาตุ

๘๗

สัตตมีวิภัตติ และธาตุหมวด ตน ธาตุ และธาตุหมวด จุร ธาตุ

๘๘

ปโรกขาวิภัตติ

๘๙

หิยัตตนีวิภัตติ

๙๐

อัชชัตตนีวิภัตติ และหมวดธาตุ ภู ธาตุ

๙๑

อัชชัตตนีวิภัตติ และหมวดธาตุ รุธ ธาตุ

๙๒

อัชชัตตนีวิภัตติ และหมวดธาตุ ทวิ ธาตุ

๙๓

อัชชัตตนีวิภัตติ และหมวดธาตุ สุ ธาตุ

๙๔

อัชชัตตนีวิภัตติ และหมวดธาตุ กี ธาตุ

๙๕

อัชชัตตนีวิภัตติ และหมวดธาตุ ตน ธาตุ

๙๖

อัชชัตตนีวิภัตติ และหมวดธาตุ สุ ธาตุ

๙๗

ภวิสสันติวิภัตติ และหมวดธาตุ ภู ธาตุ

๙๘

ภวิสสันติวิภัตติ และธาตุหมวด รุธ ธาตุ

๙๙

ภวิสสันติวิภัตติ และธาตุหมวด ทิว ธาตุ

๑๐๐

ภวิสสันติวิภัตติ และธาตุหมวด สุ ธาตุ

๑๐๑

ภวิสสันติวิภัตติ และธาตุหมวด กี ธาตุ และธาตุหมวด คห ธาตุ

๑๐๒

ภวิสสันติวิภัตติ และธาตุหมวด ตน ธาตุ

๑๐๓

ภวิสสันติวิภัตติ และธาตุหมวด จุร ธาตุ

๑๐๔

กาลปัตติวิภัตติ

๑๐๕

วาจก ๕

๑๐๖

ปัจจัยในวาจกทั้ง ๕

๑๐๗

โครงสร้างในวาจกทั้ง ๕

๑๐๘

ทบทวนกัตตุวาจก และกัมมวาจก ๑

๑๐๙

ทบทวนกัตตุวาจก และกัมมวาจก ๒

๑๑๐

ทบทวนกัตตุวาจก และภาววาจก ๑

๑๑๑

ทบทวนกัตตุวาจก และภาววาจก ๒

๑๑๒

ทบทวนเหตุกัตตุวาจก และเหตุกัมมวาจก ๑

๑๑๓

ทบทวนเหตุกัตตุวาจก และเหตุกัมมวาจก ๒

๑๑๔

ปัจจัยพิเศษในอาขยาต คือ ข, ฉ, ส, อายฺ, อิยฺ

๑๑๕

อสฺ ธาตุ และกิริยาวิกติกัตตา

 

 

 

กิตก์ ๖๒ ตอน (ตอนที่ ๑๑๖ – ๑๗๗)

ตอนที่

ชื่อตอน

๑๑๖

กิตก์

๑๑๗

นามกิตก์

๑๑๘

ปัจจัยแห่งนามกิตก์

๑๑๙

สาธนะทั้ง ๗

๑๒๐

รูปวิเคราะห์

๑๒๑

วิธีบอกรูปและสาธนะ

๑๒๒

แผนผังตั้งวิเคราะห์นามกิตก์

๑๒๓

วิธีแปลรูปวิเคราะห์

๑๒๔

วิเคราะห์ใน กฺวิ ปัจจัย

๑๒๕

วิเคราะห์ใน ณี ปัจจัย

๑๒๖

วิเคราะห์ใน ณฺวุ ปัจจัย

๑๒๗

วิเคราะห์ใน ตุ ปัจจัย

๑๒๘

วิเคราะห์ใน รู ปัจจัย

๑๒๙

วิเคราะห์ใน ข ปัจจัย

๑๓๐

วิเคราะห์ใน ณฺย ปัจจัย

๑๓๑

วิเคราะห์ใน อ ปัจจัย

๑๓๒

วิเคราะห์ใน อิ ปัจจัย

๑๓๓

วิเคราะห์ใน ณ ปัจจัย

๑๓๔

วิเคราะห์ใน ติ ปัจจัย

๑๓๕

วิเคราะห์ใน ยุ ปัจจัย

๑๓๖

การใช้ ตเว, ตุํ ปัจจัย ๑

๑๓๗

การใช้ ตเว, ตุํ ปัจจัย ๒

๑๓๘

กิริยากิตก์

๑๓๙

กาลในกิริยากิตก์

๑๔๐

ปัจจัยแห่งกิริยากิตก์

๑๔๑

อนฺต ปัจจัย

๑๔๒

อนฺต ปัจจัย กับกลุ่ม ภู ธาตุ

๑๔๓

อนฺต ปัจจัย กับกลุ่ม รุธฺ ธาตุ

๑๔๔

อนฺต ปัจจัย กับกลุ่ม ทิวฺ ธาตุ

๑๔๕

อนฺต ปัจจัย กับกลุ่ม สุ ธาตุ

๑๔๖

อนฺต ปัจจัย กับกลุ่ม กี ธาตุ

๑๔๗

อนฺต ปัจจัย กับกลุ่ม คหฺ ธาตุ และ ตนฺ ธาตุ

๑๔๘

อนฺต ปัจจัย กับกลุ่ม จุรฺ ธาตุ

๑๔๙

ตวนฺตุ ปัจจัย

๑๕๐

ตาวี ปัจจัย

๑๕๑

อนีย ปัจจัย

๑๕๒

อนีย ปัจจัยประกอบกับอกัมมธาตุ

๑๕๓

อนีย ปัจจัยประกอบกับสกัมมธาตุ

๑๕๔

ตพฺพ ปัจจัย

๑๕๕

ตพฺพ ปัจจัยประกอบกับอกัมมธาตุ

๑๕๖

ตพฺพ ปัจจัยประกอบกับสกัมมธาตุ

๑๕๗

มาน ปัจจัย

๑๕๘

ต ปัจจัย

๑๕๙

ต ปัจจัย ประกอบกับธาตุมี มฺ, นฺ และ รฺ เป็นที่สุด

๑๖๐

ต ปัจจัย ประกอบกับธาตุมี จฺ, ชฺ และ ปฺ เป็นที่สุด

๑๖๑

ต ปัจจัย ประกอบกับธาตุมี อา เป็นที่สุด

๑๖๒

ต ปัจจัย ประกอบกับธาตุมี ทฺ เป็นที่สุด

๑๖๓

ต ปัจจัย ประกอบกับธาตุมี รฺ เป็นที่สุด

๑๖๔

ต ปัจจัยประกอบกับธาตุมี สฺ เป็นที่สุด

๑๖๕

ต ปัจจัยประกอบกับธาตุมี ธฺ และ ภฺ เป็นที่สุด

๑๖๖

ต ปัจจัย ประกอบกับธาตุมี ม เป็นที่สุด

๑๖๗

ต ปัจจัย ประกอบกับธาตุมี ห เป็นที่สุด

๑๖๘

ต ปัจจัย เมื่อประกอบกับธาตุบางตัว แปลงธาตุกับ ต ปัจจัย เป็นรูปต่างๆ

๑๖๙

ประกอบ ต ปัจจัย โดยลง อิ อาคมหลังธาตุ

๑๗๐

ตูนาทิ ปัจจัยกับธาตุหมวด ภู, รุธฺ, และ ทิวฺ

๑๗๑

ตูนาทิ ปัจจัย กับธาตุหมวด สุ, กี, คหฺ, ตนฺ และ จุรฺ

๑๗๒

อุปสัคอยู่หน้า แปลง ตูนาทิ เป็น ย และแปลง ย กับที่สุดธาตุ

๑๗๓

ลำดับการแปล ๙ อย่าง

๑๗๔

ฝึกแปล เลขนอก เลขใน ๑

๑๗๕

ฝึกแปล เลขนอก เลขใน ๒

๑๗๖

ฝึกแปล เลขนอก เลขใน ๓

๑๗๗

ฝึกแปล วิย  และอิว ศัพท์

 

 

 

สมาส ๕๐ ตอน (ตอนที่ ๑๗๘ – ๒๒๗)

ตอนที่

ชื่อตอน

๑๗๘

สมาส

๑๗๙

สมาสว่าโดยกิจ

๑๘๐

  สมาสว่าโดยชื่อ

๑๘๑

กัมมธารยสมาส

๑๘๒

วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส

๑๘๓

วิเสสนุตตรบท กัมมธารยสมาส

๑๘๔

วิเสสโนภยบท กัมมธารยสมาส

๑๘๕

วิเสสโนปมบท กัมมธารยสมาส

๑๘๖

สัมภาวนบุพพบท กัมมธารยสมาส

๑๘๗

อวธารณบุพพบท กัมมธารยสมาส

๑๘๘

ทิคุสมาส

๑๘๙

ตัปปุริสสมาส

๑๙๐

ทุติยาตัปปุริสมาส

๑๙๑

ตติยาตัปปุริสมาส

๑๙๒

จตุตถีตัปปุริสมาส

๑๙๓

ปัญจมีตัปปุริสมาส

๑๙๔

ฉัฏฐีตัปปุริสมาส

๑๙๕

สัตตมีตัปปุริสมาส

๑๙๖

น บุพพบท กัมมธารยสมาส

๑๙๗

สมาหารทวันทวสมาส

๑๙๘

อสมาหารทวันทวสมาส

๑๙๙

อุปสัคคปุพพกะ อัพยยีภาวสมาส

๒๐๐

นิปาตปุพพกะ อัพยยีภาวสมาส

๒๐๑

พหุพพิหิสมาส

๒๐๒

ตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส

๒๐๓

ทุติยาตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส

๒๐๔

ตติยาตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส

๒๐๕

จตุตถีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส

๒๐๖

ปัญจมีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส

๒๐๗

ฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส

๒๐๘

สัตตมีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส

๒๐๙

ภินนาธิกรณพหุพพิหิสมาส

๒๑๐

น บุพพบท พหุพพิหิสมาส

๒๑๑

ฉัฏฐีอุปมาพหุพพิหิสมาส

๒๑๒

สหบุพพบท พหุพิหิสมาส

๒๑๓

อาทิ, มตฺต, ปมาณ, ปริวาร, ปมุข เป็นฉัฏฐีพหุพพิหิสมาส

๒๑๔

สังขโยภยบท พหุพพิหิสมาส

๒๑๕

สังขยาเมื่อสมาส เป็นสมาสอะไรได้บ้าง

๒๑๖

สรุปสมาส

๒๑๗

สมาสท้อง

๒๑๘

สมาสท้องลักษณะที่ ๑

๒๑๙

สมาสท้องลักษณะที่ ๒

๒๒๐

สมาสท้องลักษณะที่ ๓

๒๒๑

สมาสท้องลักษณะที่ ๔

๒๒๒

ฝึกแปลบทสมาสในอรรถกถาธรรมบท ๑

๒๒๓

ฝึกแปลบทสมาสในอรรถกถาธรรมบท ๒

๒๒๔

ฝึกแปลบทสมาสในอรรถกถาธรรมบท ๓

๒๒๕

ฝึกแปลบทสมาสในอรรถกถาธรรมบท ๔

๒๒๖

ฝึกแปลบทสมาสในอรรถกถาธรรมบท ๕

๒๒๗

ฝึกแปลบทสมาสในอรรถกถาธรรมบท ๖

 

 

 

ตัทธิต ๒๕ ตอน  (ตอนที่ ๒๒๘ – ๒๖๒)

ตอนที่

ชื่อตอน

๒๒๘

ตัทธิต

๒๒๙

โคตตตัทธิต ณ และ ณายน ปัจจัย

๒๓๐

โคตตตัทธิต ณาน และ เณยฺย ปัจจัย

๒๓๑

โคตตตัทธิต ณิ และ ณิก ปัจจัย

๒๓๒

โคตตตัทธิต ณว และ เณร ปัจจัย

๒๓๓

ตรตยาทิตัทธิต ๑

๒๓๔

ตรตยาทิตัทธิต ๒

๒๓๕

ราคาทิตัทธิต ๑

๒๓๖

ราคาทิตัทธิต ๒

๒๓๗

ชาตาทิตัทธิต ๑

๒๓๘

ชาตาทิตัทธิต ๒

๒๓๙

สมุหตัทธิต ๑

๒๔๐

สมุหตัทธิต ๒

๒๔๑

ฐานตัทธิต ๑

๒๔๒

ฐานตัทธิต ๒

๒๔๓

พหุลตัทธิต

๒๔๔

เสฏฐตัทธิต ๑

๒๔๕

เสฏฐตัทธิต ๒

๒๔๖

ตทัสสัตถิตัทธิต ๑

๒๔๗

ตทัสสัตถิตัทธิต ๒

๒๔๘

ตทัสสัตถิตัทธิต ๓

๒๔๙

ปกติตัทธิต

๒๕๐

ปูรณตัทธิต ๑

๒๕๑

ปูรณตัทธิต ๒

๒๕๒

สังขยาตัทธิต

๒๕๓

วิภาคตัทธิต

๒๕๔

ภาวตัทธิต ตฺต ปัจจัย

๒๕๕

ภาวตัทธิต ณฺย ปัจจัย

๒๕๖

ภาวตัทธิต ตฺตน ปัจจัย

๒๕๗

ภาวตัทธิต ตา ปัจจัย

๒๕๘

ภาวตัทธิต ณ ปัจจัย

๒๕๙

ภาวตัทธิต กณฺ ปัจจัย

๒๖๐

แปล ตฺต ปัจจัย

๒๖๑

แปล ตา ปัจจัย

๒๖๒

อัพยยตัทธิต

 

 

 

สนธิ ๒๘ ตอน  (ตอนที่ ๒๖๓ – ๒๙๐)

ตอนที่

ชื่อตอน

๒๖๓

อักษรในภาษาบาลี

๒๖๔

สนธิ

๒๖๕

สนธิกิริโยปกรณ์

๒๖๖

โลปสระสนธิ ลบสระหน้าลักษณะที่ ๑

๒๖๗

โลปสระสนธิ ลบสระหน้าลักษณะที่ ๒

๒๖๘

โลปสระสนธิ ลบสระหน้าลักษณะที่ ๓

๒๖๙

โลปสระสนธิ ลบสระหน้าลักษณะที่ ๔

๒๗๐

โลปสระสนธิ ลบสระหลังลักษณะที่ ๑

๒๗๑

โลปสระสนธิ ลบสระหลังลักษณะที่ ๒

๒๗๒

อาเทสสระสนธิ แปลงสระเบื้องหน้า

๒๗๓

อาเทสสระสนธิ แปลงสระเบื้องหลัง

๒๗๔

อาคมสระสนธิ

๒๗๕

วิการสระสนธิ วิการในเบื้องต้น

๒๗๖

วิการสระสนธิ วิการในเบื้องปลาย

๒๗๗

ปกติสระสนธิ

๒๗๘

ทีฆะสระสนธิ ทีฆะสระหน้า

๒๗๙

ทีฆะสระสนธิ ทีฆะสระหลัง

๒๘๐

รัสสะสระสนธิ

๒๘๑

โลปพยัญชนะสนธิ

๒๘๒

อาเทสพยัญชนะสนธิ

๒๘๓

อาคมพยัญชนะสนธิ และปกติพยัญชนะสนธิ

๒๘๔

สัญโญคพยัญชนะสนธิ ซ้อนพยัญชนะที่มีรูปเหมือน

๒๘๕

สัญโญคพยัญชนะสนธิ ซ้อนพยัญชนะที่มีรูปไม่เหมือนกัน

๒๘๖

โลปนิคคหิตสนธิ

๒๘๗

อาเทสนิคคหิตสนธิ ๑

๒๘๘

อาเทสนิคคหิตสนธิ ๒

๒๘๙

อาเทสนิคคหิตสนธิ ๓

๒๙๐

อาคมนิคคหิตสนธิ และปกตินิคคหิตสนธิ

 

 

 

เฉลยแนวข้อสอบบาลีไวยากรณ์ ๑๕ ตอน (ตอนที่ ๒๙๑ – ๓๐๕)

ตอนที่

ชื่อตอน

๒๙๑

เฉลยข้อสอบแบบอปรนัยเรื่องสระ พยัญชนะ และสนธิ ๑

๒๙๒

เฉลยข้อสอบแบบอปรนัยเรื่องสระ พยัญชนะ และสนธิ ๒

๒๙๓

เฉลยข้อสอบแบบอปรนัยเรื่องนามนามและอัพยยศัพท์ ๑

๒๙๔

เฉลยข้อสอบแบบอปรนัยเรื่องนามนามและอัพยยศัพท์ ๒

๒๙๕

เฉลยข้อสอบแบบอปรนัยเรื่องอาขยาต ๑

๒๙๖

เฉลยข้อสอบแบบอปรนัยเรื่องอาขยาต ๒

๒๙๗

เฉลยข้อสอบแบบอปรนัยเรื่องกิตก์ ๑

๒๙๘

เฉลยข้อสอบแบบอปรนัยเรื่องกิตก์ ๒

๒๙๙

เฉลยข้อสอบแบบอปรนัยเรื่องสมาส ๑

๓๐๐

เฉลยข้อสอบแบบอปรนัยเรื่องสมาส ๒

๓๐๑

เฉลยข้อสอบแบบอปรนัยเรื่องตัทธิต ๑

๓๐๒

เฉลยข้อสอบแบบอปรนัยเรื่องตัทธิต ๒

๓๐๓

ตัวอย่างเฉลยข้อสอบบาลีไวยากรณ์แบบอัตนัย ๑

๓๐๔

ตัวอย่างเฉลยข้อสอบบาลีไวยากรณ์แบบอัตนัย ๒

๓๐๕

ตัวอย่างเฉลยข้อสอบบาลีไวยากรณ์แบบอัตนัย ๓

 

เว็บมีช่องทางให้ผู้ชม เขียนข้อคิดเห็นหรือคำถาม ในการส่งความคิดเห็น เว็บได้ขอข้อมูลส่วนบุคคล เช่น ชื่อ นามสกุล หมายเลขโทรศัพท์ หรือ ที่อยู่จดหมายอิเล็กทรอนิกส์เพื่อใช้ในการสื่อสารกลับมายังผู้ใช้ และเพื่อใช้ในการปรับปรุงเว็บไซต์ให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ โดยผู้ใช้สามารถจัดการความเป็นส่วนตัวได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า