พระธรรมบทภาคที่ ๔ ปุปฺผวคฺค วณฺณนา จำนวน ๒๔ เรื่อง ๗๖ ตอน
๑. เรื่องพระราธเถระ ๒ ตอน
ตอน | ชื่อตอน | ||
๑ | ราธพราหมณ์มีอุปนิสัยพระอรหัต | ||
๒ | พระศาสดาทรงแสดงอลีนจิตตชาดก |
๒.เรื่องภิกษุอัสสชิและปุนัพพสุกะ
ตอน | ชื่อตอน | ||
๑ | ภิกษุลามกต้องถูกปัพพาชนียกรรม |
๓. เรื่องพระฉันนเถระ
ตอน | ชื่อตอน | ||
๑ | พระฉันนเถระด่าพระอัครสาวก |
๔. เรื่องพระมหากัปปินเถระ
ตอน | ชื่อตอน | ||
๑ | พระปัจเจกพุทธะทูลขอหัตถกรรมทำเสนาสนะ | ||
๒ | กุฎุมพีถวายมหาทาน | ||
๓ | พระราชาได้ข่าวพระรัตนตรัยจากพ่อค้า | ||
๔ | พระศาสดาตรวจดูสัตว์โลก | ||
๕ | พระราชาและอำมาตย์ได้บรรลุคุณวิเศษ | ||
๖ | บรรลุพระอรหัต |
๕. เรื่องสามเณรบัณฑิต
๖. เรื่องลกุณฏกภัททิยเถระ
ตอน | ชื่อตอน | ||
๑ | บัณฑิตไม่หวั่นไหวเพราะนินทาสรรเสริญ |
๗. เรื่องมารดาของนางกาณา
ตอน | ชื่อตอน | ||
๑ | นางกาณาบรรลุโสดาปัตติผล | ||
๒ | พระศาสดาทรงประชุมชาดก |
๘. เรื่องภิกษุ ๕๐๐ รูป
ตอน | ชื่อตอน | ||
๑ | พระศาสดาเสด็จเมืองเวรัญชา | ||
๒ | พระศาสดาตรัสวาโลทกชาดก |
๙. เรื่องพระเถระผู้ตั้งอยู่ในธรรม
ตอน | ชื่อตอน | ||
๑ | อุบาสกหนีไปบวชได้บรรลุพระอรหัต |
๑๐. เรื่องการฟังธรรม
ตอน | ชื่อตอน | ||
๑ | คนอาศัยภพแล้วติดภพมีมาก |
๑๑. เรื่องภิกษุอาคันตุกะ
ตอน | ชื่อตอน | ||
๑ | พระศาสดาตรัสเหมาะแก่ความประพฤติ |
๑๒. เรื่องหมอชีวก
ตอน | ชื่อตอน | ||
๑ | พระเทวทัตทำโลหิตุปบาทกรรม |
๑๓. เรื่องมหากัสสปเถระ
ตอน | ชื่อตอน | ||
๑ | ธรรมเนียมของพระพุทธเจ้าผู้จะเสด็จจาริก | ||
๒ | พระศาสดาตรัสบุรพจริตของพระเถระ |
๑๔. เรื่องเพฬัฏฐสีสเถระ
ตอน | ชื่อตอน | ||
๑ | ทรงบัญญัติสันนิธิการสิกขาบท |
๑๕. เรื่องพระอนุรุทธเถระ
ตอน | ชื่อตอน | ||
๑ | เทพธิดาถวายผ้าแก่พระอนุรุทธเถระ |
๑๖. เรื่องพระมหากัจจายนเถระ
ตอน | ชื่อตอน | ||
๑ | พระเถระยกย่องการฟังธรรม |
๑๗. เรื่องพระสารีบุตรเถระ
ตอน | ชื่อตอน | ||
๑ | พระเถระเปรียบตนด้วยอุปมา ๙ อย่าง | ||
๒ | จิตของพระสารีบุตรเหมือนแผ่นดิน |
๑๘. เรื่องพระติสสเถระชาวกรุงโกสัมพี
ตอน | ชื่อตอน | ||
๑ | ศิษย์บรรลุพระอรหัตก่อนอาจารย์ | ||
๒ | อาจารย์ขอโทษศิษย์ |
๑๙. เรื่องพระสารีบุตรเถระ
ตอน | ชื่อตอน | ||
๑ | พระสารีบุตรอันใครๆไม่ควรติเตียน |
๒๐. เรื่องพระขทิรวนิยเรวตเถระ
ตอน | ชื่อตอน | ||
๑ | พระสารีบุตรชวนพี่น้องบวช | ||
๒ | เรวตสามเณรบรรลุพระอรหัต | ||
๓ | พวกภิกษุอาศัยบุญของพระสีวลีเถระ | ||
๔ | นางวิสาขาถามถึงที่อยู่ของเรวตะ | ||
๕ | พวกภิกษุปรารภถึงความเป็นไปของพระสีวลี | ||
๖ | ภิกษุชมเชยบุญของพระเรวตะ |
๒๑. เรื่องหญิงคนใดคนหนึ่ง
ตอน | ชื่อตอน | ||
๑ | หญิงนครโสภินียั่วจิตพระเถระให้หลง |
๒๒. เรื่องของบุรุษผู้ฆ่าโจรมีเคราแดง
ตอน | ชื่อตอน | ||
๑ | เพ็ชฌฆาตเคราแดง | ||
๒ | นายตัมพทาฐิกะตายไปเกิดในดุสิตบุรี |
๒๓. เรื่องทารุจีริยเถระ
ตอน | ชื่อตอน | ||
๑ | ทารุจีริยะสำคัญว่าตนเป็นอรหันต์ | ||
๒ | พรหมบอกความจริงแก่ทารุจีริยะ | ||
๓ | ทารุจีริยะบรรลุพระอรหัตแต่ยังเป็นคฤหัสถ์ |
๒๔. เรื่องพระกุณฑล เกสีเถรี
๑ | ธิดาเศรษฐีได้โจรเป็นสามี | ||
๒ | ธิดาเศรษฐีผลักโจรตกเขาตาย | ||
๓ | ธิดาเศรษฐีบวชเป็นปริพาชก | ||
๔ | ชนะกิเลสประเสริฐ | ||
๕ | กรรม ๖ อย่าง ก่อความเสียหายแก่ผู้กระทำ |
๒๕. อนัตถปุจฉกพราหมณ์
๑ | กรรม ๖ อย่าง ก่อความเสียหายแก่ผู้กระทำ |
๒๖. พราหมณ์ผู้เป็นลุงของพระสารีบุตรเถระ
๑ | การบูชาที่ประเสริฐ |
๒๗. พราหมณ์ผู้เป็นหลานของพระสารีบุตรเถระ
๑ | การบูชาบุคคลผู้ฝึกตนแล้วประเสริฐ |
๒๘. พราหมณ์ผู้เป็นสหายของพระสารีบุตรเถระ
๑ | การกราบไหว้ที่ประเสริฐ |
๒๙. อายุวัฑฒนกุมาร
๑ | พราหมณ์สองสหายออกบวช |
๒ | เหตุทำให้อายุยืน |
๓๐. สังกิจจสามเณร
๑ | ประวัติสังกิจจสามเณร |
๒ | ภิกษุ ๓๐ รูปทำสมณธรรม |
๓ | ทุคคตบุรุษอาศัยพวกภิกษุ |
๔ | สังกิจจสามเณรยอมมอบตัวให้แก่โจร |
๕ | โจรขอบรรพชา |
๖ | ผู้มีศีลประเสริฐกว่าผู้ทุศีล |
๓๑. พระขานุโกณฑัญญเถระ
๑ | คนมีปัญญาดีกว่าคนทรามปัญญา |
๓๒. เรื่องพระสัปปทาสเถระ
๑ | พระเถระให้งูกัดตัว ตอนที่ ๑ |
๒ | บุรพกรรมของพระสัปปทาสเถระ ตอนที่ ๒ |
๓๓. นางปฏาจารา
๑ | ความรักไม่เลือกวรรณะ ตอนที่ ๑ |
๒ | สามีถูกงูกัดตาย ตอนที่ ๒ |
๓ | นางปฏาจาราสูญเสียครอบครัว ตอนที่ ๓ |
๔ | นางปฏาจาราทูลขอบวช ตอนที่ ๔ |
๓๔. นางกิสาโคตมี
๑ | ทรัพย์ของเศรษฐีกลายเป็นถ่าน ตอนที่ ๑ |
๒ | นางกิสาโคตมีบวชในพุทธศาสนา ตอนที่ ๒ |
๓๕. พระพหุปุตติกาเถรี
๑ | ชีวิตของผู้เห็นอมตธรรมประเสริฐ ตอนที่ ๑ |
โครงสร้างเนื้อหา “แปลบาลีพระธรรมบท” ในภาพรวม
พระธรรมบทภาคที่ ๑ ยมกวคฺค วณฺณนา จำนวน ๑๔ เรื่อง ๗๕ ตอน
พระธรรมบทภาคที่ ๒ อปฺปมาทวคฺค วณฺณนา จำนวน ๑๘ เรื่อง ๙๘ ตอน
พระธรรมบทภาคที่ ๓ จิตฺตวคฺค วณฺณนา จำนวน ๒๗ เรื่อง ๑๑๙ ตอน
พระธรรมบทภาคที่ ๔ ปุปฺผวคฺค วณฺณนา จำนวน ๓๕ เรื่อง ๗๖ ตอน
รวมทั้งสิ้น ๙๔ เรื่อง ๓๖๘ ตอน
.